``````````````````````````````````
#การเข้าผลสมาบัติ#อารมณ์พระนิพพาน#จึงมุ่งสู่พุทธภูมิ#เธออย่าได้กล่าวคำหยาบต่อใครๆ#วิมุตติความหลุดพ้น#สามแดนโลกธาตุ#หาที่จะหยั่งเท้าลงไม่ได้เลย#จิตใจที่แห้งสนิทจึงจะหลุดพ้น#ความหลุดพ้น #การเข้าผลสมาบัติ#เป็นการเข้าอยู่ในอารมณ์พระนิพพาน#ที่ได้มาจากอริยผลญาณ #อันบังเกิดแล้วแก่ตน #เพื่อเสวยโลกุตตรสุข #ซึ่งเป็นความสงบสุขที่พึงเห็น #ประจักษ์ได้ในปัจจุบัน #พระนิพพาน ที่เป็นอารมณ์ของผลสมาบัตินั้นมีชื่อ ๓ ชื่อหรือมี ๓ อาการคือ ๑. #อนิมิตตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ไม่เที่ยง อันปราศจากนิมิตเครื่องหมาย คือ อนิจจัง โดยบุญญาธิการแต่ปางก่อน แรงด้วยสีล เมื่อเข้าผลสมาบัติก็คงมีอนิมิตตนิพพาน เป็นอารมณ์ ๒. #อัปปณิหิตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ทนอยู่ไม่ได้ ต้องเปลี่ยนแปรไป อันหาเป็น ปณิธิ ที่ตั้งไม่ได้ คือทุกขัง โดยบุญญาธิ การแต่ปางก่อนแรงด้วยสมาธิ เมื่อเข้าผลสมาบัติ ก็คงมี อัปปณิหิตนิพพาน เป็น อารมณ์ ๓. #ญตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ไม่ใช่ตัวตน บังคับบัญชาไม่ได้ อันเป็นความว่างเปล่า คืออนัตตา โดยบุญญาธิการ แต่ปางก่อนแรงด้วยปัญญา เมื่อเข้าผลสมาบัติ ก็คงมี สุญญตนิพพาน เป็นอารมณ์ #บุคคลที่เข้าผลสมาบัติได้ต้องเป็นพระอริยบุคคล คือเป็น พระโสดาบัน พระ สกทาคามี พระอนาคามี หรือ พระอรหันต์ ส่วนปุถุชนจะเข้าผลสมาบัติไม่ได้เลย เป็นอันขาด #พระอริยเจ้าที่จะเข้าผลสมาบัติ ก็เข้าได้เฉพาะอริยผลที่ตนได้ ที่ตนถึงครั้ง สุดท้ายเท่านั้น แม้อริยผลที่ตนได้และผ่านพ้นมาแล้วก็ไม่สามารถจะเข้าได้ กล่าวคือ #พระโสดาบัน ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ โสดาปัตติผล #พระสกทาคามี ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ สกทาคามีผล เท่านั้น จะเข้าโสดา ปัตติผล ซึ่งถึงแม้ว่าตนจะเคยได้เคยผ่านเคยพ้นมาแล้ว ก็หาได้ไม่ #พระอนาคามี ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่เฉพาะ อนาคามีผล #พระอรหันต์ ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ อรหัตตผลโดยเฉพาะเช่นกัน #พระอริยบุคคล ผู้จะเข้าผลสมาบัติ กิจเบื้องต้นก็จะต้องตั้งความปรารถนาว่า จะเข้าผลสมาบัติเป็นเวลา .... (ตามความประสงค์ที่จะเข้าอยู่สักกี่ชั่วโมง หรือกี่วัน) ขอให้ผลจิตที่เคยปรากฏมาแล้วนั้น จงบังเกิดขึ้นตามความปรารถนานี้เถิด #ขณะที่ตั้งความปรารถนา(อธิษฐาน) นี้ กามจิตอันเป็นมหากุสลญาณสัมปยุตต สำหรับพระอริยเบื้องต่ำ ๓ หรือ กามจิตอันเป็นมหากิริยาญาณสัมปยุตต สำหรับ พระอรหันต์ก็เกิด มีวิถีจิตซึ่งเรียกว่า #อธิฏฐานวิถี ดังนี้ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช #ต่อจากอธิฏฐานวิถี #ก็เจริญวิปัสสนาภาวนา #ไตรลักษณ์แห่งรูปนามเป็น อารมณ์#เริ่มแต่อุทยัพพยญาณเป็นต้นไป #ผลจิตก็จะเกิด วิถีจิตนี้ชื่อว่า ผลสมา บัติวิถี มีวิถีดังนี้ น ท มโน อนุโลม อนุโลม อนุโลม อนุโลม ผล ผล ผล ฯลฯ ฯลฯ อนุโลม ๔ ขณะ #สำหรับมันทบุคคล หรืออนุโลม ๓ ขณะ #สำหรับติกขบุคคล ต่อจากอนุโลม #ผลจิตก็เกิดเรื่อยไปเป็นจำนวนมากมาย ไม่สามารถที่จะประมาณได้ #จนครบกำหนดเวลาที่ตนปรารถนาไว้ #ผลจิตจึงจะหยุดเกิด แล้วก็เป็นภวังคจิตต่อไป ตาม อนึ่ง #จิตในผลสมาบัติวิถีนี้ ไม่เรียกว่า บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู เหมือนอย่างในมัคควิถี แต่เรียก #อย่างเดียวทั้ง ๔ ขณะ เพราะผลสมาบัติวิถี นี้ #ไม่ได้ทำการประหารกิเลส เหมือนอย่างในมัคควิถี เป็นแต่จิต ๔ ดวงนี้เกิดขึ้น #เพื่ออนุโลมให้จิตถึงพระนิพพาน หรือให้แนบแน่นในอารมณ์พระนิพพาน
``````````````````````````````````
ตอบลบ
ตอบลบ#การเข้าผลสมาบัติ#อารมณ์พระนิพพาน#จึงมุ่งสู่พุทธภูมิ#เธออย่าได้กล่าวคำหยาบต่อใครๆ#วิมุตติความหลุดพ้น#สามแดนโลกธาตุ#หาที่จะหยั่งเท้าลงไม่ได้เลย#จิตใจที่แห้งสนิทจึงจะหลุดพ้น#ความหลุดพ้น #การเข้าผลสมาบัติ#เป็นการเข้าอยู่ในอารมณ์พระนิพพาน#ที่ได้มาจากอริยผลญาณ #อันบังเกิดแล้วแก่ตน #เพื่อเสวยโลกุตตรสุข #ซึ่งเป็นความสงบสุขที่พึงเห็น #ประจักษ์ได้ในปัจจุบัน #พระนิพพาน ที่เป็นอารมณ์ของผลสมาบัตินั้นมีชื่อ ๓ ชื่อหรือมี ๓ อาการคือ ๑. #อนิมิตตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ไม่เที่ยง อันปราศจากนิมิตเครื่องหมาย คือ อนิจจัง โดยบุญญาธิการแต่ปางก่อน แรงด้วยสีล เมื่อเข้าผลสมาบัติก็คงมีอนิมิตตนิพพาน เป็นอารมณ์
๒. #อัปปณิหิตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ทนอยู่ไม่ได้ ต้องเปลี่ยนแปรไป อันหาเป็น ปณิธิ ที่ตั้งไม่ได้ คือทุกขัง โดยบุญญาธิ การแต่ปางก่อนแรงด้วยสมาธิ เมื่อเข้าผลสมาบัติ ก็คงมี อัปปณิหิตนิพพาน เป็น อารมณ์
๓. #ญตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ไม่ใช่ตัวตน บังคับบัญชาไม่ได้ อันเป็นความว่างเปล่า คืออนัตตา โดยบุญญาธิการ แต่ปางก่อนแรงด้วยปัญญา เมื่อเข้าผลสมาบัติ ก็คงมี สุญญตนิพพาน เป็นอารมณ์
#บุคคลที่เข้าผลสมาบัติได้ต้องเป็นพระอริยบุคคล คือเป็น พระโสดาบัน พระ สกทาคามี พระอนาคามี หรือ พระอรหันต์ ส่วนปุถุชนจะเข้าผลสมาบัติไม่ได้เลย เป็นอันขาด
#พระอริยเจ้าที่จะเข้าผลสมาบัติ ก็เข้าได้เฉพาะอริยผลที่ตนได้ ที่ตนถึงครั้ง สุดท้ายเท่านั้น แม้อริยผลที่ตนได้และผ่านพ้นมาแล้วก็ไม่สามารถจะเข้าได้ กล่าวคือ
#พระโสดาบัน ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ โสดาปัตติผล
#พระสกทาคามี ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ สกทาคามีผล เท่านั้น จะเข้าโสดา ปัตติผล ซึ่งถึงแม้ว่าตนจะเคยได้เคยผ่านเคยพ้นมาแล้ว ก็หาได้ไม่
#พระอนาคามี ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่เฉพาะ อนาคามีผล
#พระอรหันต์ ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ อรหัตตผลโดยเฉพาะเช่นกัน
#พระอริยบุคคล ผู้จะเข้าผลสมาบัติ กิจเบื้องต้นก็จะต้องตั้งความปรารถนาว่า จะเข้าผลสมาบัติเป็นเวลา .... (ตามความประสงค์ที่จะเข้าอยู่สักกี่ชั่วโมง หรือกี่วัน) ขอให้ผลจิตที่เคยปรากฏมาแล้วนั้น จงบังเกิดขึ้นตามความปรารถนานี้เถิด
#ขณะที่ตั้งความปรารถนา(อธิษฐาน) นี้ กามจิตอันเป็นมหากุสลญาณสัมปยุตต สำหรับพระอริยเบื้องต่ำ ๓ หรือ กามจิตอันเป็นมหากิริยาญาณสัมปยุตต สำหรับ พระอรหันต์ก็เกิด มีวิถีจิตซึ่งเรียกว่า #อธิฏฐานวิถี ดังนี้
น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช
#ต่อจากอธิฏฐานวิถี #ก็เจริญวิปัสสนาภาวนา #ไตรลักษณ์แห่งรูปนามเป็น อารมณ์
#เริ่มแต่อุทยัพพยญาณเป็นต้นไป #ผลจิตก็จะเกิด วิถีจิตนี้ชื่อว่า ผลสมา บัติวิถี มีวิถีดังนี้
น ท มโน อนุโลม อนุโลม อนุโลม อนุโลม ผล ผล ผล ฯลฯ ฯลฯ อนุโลม ๔ ขณะ #สำหรับมันทบุคคล หรืออนุโลม ๓ ขณะ #สำหรับติกขบุคคล ต่อจากอนุโลม #ผลจิตก็เกิดเรื่อยไปเป็นจำนวนมากมาย ไม่สามารถที่จะประมาณได้ #จนครบกำหนดเวลาที่ตนปรารถนาไว้ #ผลจิตจึงจะหยุดเกิด แล้วก็เป็นภวังคจิตต่อไป ตาม
อนึ่ง #จิตในผลสมาบัติวิถีนี้ ไม่เรียกว่า บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู เหมือนอย่างในมัคควิถี แต่เรียก #อย่างเดียวทั้ง ๔ ขณะ เพราะผลสมาบัติวิถี นี้ #ไม่ได้ทำการประหารกิเลส เหมือนอย่างในมัคควิถี เป็นแต่จิต ๔ ดวงนี้เกิดขึ้น #เพื่ออนุโลมให้จิตถึงพระนิพพาน หรือให้แนบแน่นในอารมณ์พระนิพพาน